ปัญหาและเฉลยวิชาเบญจศีล
เบญจธรรม (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นตรี 2554
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
1. ทำสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วง
มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
ตาย ข. บาดเจ็บ
ค.
พิการ ง. สลบ
ตอบ : ก
2. ข้อใด แสดงออกถึงการขาดเมตตาจิต ?
ก.
เลี้ยงม้า ข. เลี้ยงแมว
ค.
เลี้ยงนก ง. ตกปลา
ตอบ : ง
3. แข่งขันกัดสุนัข เป็นการทรมานสัตว์ลักษณะใด
?
ก.
เล่นสนุก ข. ผจญสัตว์
ค.
ใช้การ ง. นำไป
ตอบ
: ข
4. ใช้การ จัดเป็นทรกรรมอย่างหนึ่ง ตรงกับข้อใด ?
ก.
ใช้วัวเทียมเกวียน ข. ใช้ควายไถนา
ค. ใช้ม้าเกินกำลัง ง.
ใช้ช้างลากซุง
ตอบ
: ค
5.
การรักษาศีลข้อปาณาติบาต ทำให้คนเราเกิดความคิดในเรื่องใด
?
ก. รักหวงแหนชีวิต ข.
ปล่อยชีวิตไปตามกรรม
ค.
เห็นแก่ตัวมากขึ้น ง. ช่วยเหลือคนอื่น
ตอบ
: ก
6.
อทินนาทาน บัญญัติขึ้นเพื่อป้องกันการล่วงละเมิดในเรื่องใด ?
ก.
ชีวิต ข. ทรัพย์สิน
ค.
มุสาวาท ง. สุราเมรัย
ตอบ
: ข
7.
วิ่งราวทรัพย์ผู้อื่น จัดเป็นโจรกรรมข้อใด ?
ก.
ลัก ข. ฉก
ค.
กรรโชก ง. ปล้น
ตอบ
: ข
8.
กิริยาที่ถือเอาทรัพย์เพื่อช่วยทำธุระในทางที่ผิด
เรียกว่าอะไร ?
ก.
สมโจร ข. ปอกลอก
ค. รับสินบน ง. หยิบฉวย
ตอบ
: ค
9.
ข้อใด ไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการบัญญัติศีลข้อที่ ๓ ?
ก.
ป้องกันการแตกร้าว ข. ป้องกันล่วงละเมิดประเวณี
ค.
ป้องกันกามโรค ง.
ป้องกันการทำร้าย
ตอบ
: ง
10.
หญิงผู้เป็นเหล่ากอของตัวในสิกขาบทที่ ๓
หมายถึงข้อใด ?
ก.
ลูกเลี้ยง ข. ลูกบุญธรรม
ค. ลูกสาว ง. ลูกสะใภ้
ตอบ
: ค
11.
การล่วงละเมิดศีลข้อที่ ๓ เป็นเหตุให้เกิดโรคใด ?
ก. กามโรค ข. ไข้หวัดนก
ค.
มะเร็ง ง. ปอดบวม
ตอบ
: ก
12.
การอวดอ้างว่า คงกระพัน ยิงฟันไม่เข้า
จัดเป็นมุสาวาทประเภทใด ?
ก. ทำเล่ห์ ข. มารยา
ค.
อำความ
ง. เสริมความ
ตอบ
: ก
13.
การกล่าวเกินความเป็นจริง เป็นมุสาวาทประเภทใด ?
ก.
มารยา ข. อำความ
ค. เสริมความ ง. ทำเลส
ตอบ
: ค
14.
ข้อใด ไม่ใช่ความหมายของมุสาวาท ?
ก.
พูดไม่ตรงความจริง ข. ทำไม่ตรงความจริง
ค.
คิดไม่ตรงความจริง
ง.แสดงออกไม่ตรงความจริง
ตอบ
: ค
15.
ข้อใด เป็นมุสาวาททางกาย ?
ก. เขียนหนังสือเท็จ ข.
ให้การเท็จ
ค.
จงใจกล่าวเท็จ ง. พูดคำเท็จ
ตอบ
: ก
16.
พูดยุยงเพื่อให้เขาแตกกัน เรียกว่าอะไร ?
ก.
กลับคำ ข. ยกย่อง
ค. ส่อเสียด ง. หลอก
ตอบ
: ค
17.
คำพูดประเภทใด ไม่มีโทษแก่ผู้พูด ?
ก.
โวหาร ข. ผิดสัญญา
ค.
เสียสัตย์ ง. คืนคำ
ตอบ
: ก
18.
ข้อใด เป็นความประพฤติเสียหายเพราะดื่มน้ำเมา ?
ก.
ทำลายข้าวของ
ข. ทุบตีผู้อื่น
ค.
ทะเลาะวิวาท ง.
ถูกทุกข้อ
ค. ตอบ
: ง
19.
ข้อใด อนุโลมเป็นของมึนเมาในสิกขาบทที่ ๕ ?
ก.
น้ำส้ม
ข. น้ำชา
ค.
กาแฟ ง. กัญชา
ตอบ
: ง
20.
การดื่มน้ำเมา เป็นเหตุให้เกิดอาการเช่นใด ?
ก.
มึนงง ข. อาเจียน
ค.
หลับไม่สนิท ง.
ถูกทุกข้อ
ตอบ
: ง
21.
ข้อใด ไม่จัดเข้าในโทษของการดื่มน้ำเมา
๖ อย่าง ?
ก.
เสียเงินทอง ข. เสียชื่อเสียง
ค. เสียคำสัตย์ ง. เสียสุขภาพ
ตอบ
: ค
22.
บุคคลผู้งดเว้นจากข้อห้ามในสิกขาบททั้ง ๕ เรียกว่าอะไร ?
ก. ผู้มีศีล ข. ผู้มีธรรม
ค.
ผู้มีบุญ ง. ผู้มีคุณ
ตอบ
: ก
23.
พระอริยะไม่ประพฤติล่วงศีล ๕ อย่างเด็ดขาด จัดเป็นวิรัติใด ?
ก.
สัมปัตตวิรัติ ข. สมาทานวิรัติ
ค. สมุจเฉทวิรัติ ง.
ถูกทุกข้อ
ตอบ
: ค
24.
การไม่ทำร้ายศัตรูขณะที่มีโอกาส จัดเป็นวิรัติข้อใด
ก. สัมปัตตวิรัติ ข.
สมาทานวิรัติ
ค.
สมุจเฉทวิรัติ ง. ถูกทุกข้อ
ค. ตอบ
: ก
25.
ผู้ชื่อว่ากัลยาณชน เพราะมีคุณธรรมใด ?
ก.
เบญจศีล ข. เบญจธรรม
ค.
มนุษยธรรม ง. ถูกทุกข้อ
ค. ตอบ
: ง
26.
กัลยาณธรรม แปลว่าอะไร ?
ก. ธรรมอันงาม ข. ธรรมคุ้มครองโลก
ค.
ธรรมอันทำให้งาม
ง. ธรรมมีอุปการะมาก
ตอบ
: ก
27.
ข้อปฏิบัติที่ยิ่งกว่าศีล เรียกว่าอะไร ?
ก.
กัลยาณมิตร ข.
กัลยาณธรรม
ค.
กัลยาณชน ง. กัลยาณจิต
ตอบ
: ข
28.
กัลยาณธรรมข้อที่ ๑ เป็นเหตุให้มนุษย์มีพฤติกรรมเช่นใด ?
ก. ช่วยเหลือกัน ข.
รักษาศีลได้มั่นคง
ค.
ซื่อตรงต่อกัน ง. มีสติรอบคอบ
ตอบ
: ก
29.
กัลยาณธรรมข้อใด เป็นเหตุให้มนุษย์ละความเบียดเบียนกัน ?
ก. เมตตากรุณา ข.
สัมมาอาชีวะ
ค.
วาจาสัตย์ ง. สติรอบคอบ
ตอบ
: ก
30.
บริจาคทรัพย์ช่วยสุนัขที่ถูกนำไปฆ่า จัดว่ามีกัลยาณธรรมข้อใด ?
ก.
เมตตา ข. กรุณา
ค.
มุทิตา ง. อุเบกขา
ตอบ
: ข
31.
ข้อใด เป็นการแสดงถึงความมีกรุณาต่อผู้อื่น ?
ก.
ปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข
ข.
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม
ค.
ดีใจเมื่อเห็นผู้อื่นได้ดี
ง.
เฉย ๆ เมื่อเห็นผู้อื่นได้ดี
ตอบ
: ข
32.
สัมมาอาชีวะ แปลว่าอะไร ?
ก. เลี้ยงชีพชอบ ข.
ตั้งใจชอบ
ค.
เจรจาชอบ ง. ดำริชอบ
ตอบ
: ก
33.
นายจ้างให้ค่าจ้างแรงงานตามสัญญา ชื่อว่าประพฤติเป็นธรรมในอะไร ?
ก.
กิจการ ข. บุคคล
ค.
วัตถุ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ
: ข
34.
ข้อใด ชื่อว่าประพฤติไม่เป็นธรรมในวัตถุ ?
ก.
ขายของปลอม ข. คืนของปลอม
ค.
ทิ้งของปลอม ง. ใช้ของปลอม
ตอบ
: ก
35.
คนทำงานด้วยหยาดเหงื่อแรงงาน ควรปฏิบัติต่อทรัพย์
ที่ได้มาอย่างไร ?
ก.
ใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย ข. ใช้จ่ายอย่างฝืดเคือง
ค.
ใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย ง. ใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง
ตอบ
: ง
36.
ชายหญิงที่แต่งงานกัน ควรเว้นพฤติกรรมใด ?
ก.
ช่วยกันทำมาหากิน
ข. พอใจในคู่ครองของตน
ค. พอใจคู่ครองคนอื่น ง. เลี้ยงดูไม่ทิ้งกัน
ตอบ
: ค
37.
รักนวลสงวนตัว มีความหมายตรงกับกัลยาณธรรมข้อใด ?
ก.
สัมมาอาชีวะ ข. สำรวมในกาม
ค.
ความมีสัตย์ ง. มีสติรอบคอบ
ตอบ
: ข
38.
ข้อใด เป็นโทษของการไม่สำรวมในกาม ?
ก.
เสียการงาน ข. เสียสติ
ค.
เสียวาจาสัตย์ ง.
เกิดโรคร้าย
ตอบ
: ง
39.
คนไม่มีสทารสันโดษ มีมูลเหตุมาจากเรื่องใด ?
ก.
ทรัพย์สมบัติ ข.
กามารมณ์
ค.
คำพูดเท็จ
ง. เสียสติ
ตอบ
: ข
40.
ปติวัตร เป็นคุณประดับสตรี ตรงกับข้อใด ?
ก.
แม่ชี ข. สามเณรี
ค.
ภิกษุณี ง. สตรีมีสามี
ตอบ
: ง
41.
ชายหญิงผู้มักมากในกาม มีลักษณะเช่นใด ?
ก.
ไม่มีสง่าราศรี ข. ชีวิตมีมลทิน
ค.
ถูกติฉินนินทา ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ
: ง
42.
การจัดงานเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษามหาราช ชื่อว่ามีความสัตย์ในข้อใด ?
ก.
เที่ยงธรรม ข. ซื่อตรง
ค. สวามิภักดิ์ ง. กตัญญู
ตอบ
: ค
43.
พระสารีบุตรเถระ แสดงความกตัญญูต่อพระอัสสชิเถระ ได้ชื่อว่าประพฤติกัลยาณธรรมข้อใด
?
ก.
ความมีสัตย์ ข. ความมีเมตตา
ค.
ความมีกรุณา ง. ความมีสติ
ตอบ
: ก
44.
ผู้พิพากษาตัดสินคดีด้วยความยุติธรรม จัดเป็นความมีสัตย์ในเรื่องใด ?
ก. เที่ยงธรรม ข.
ซื่อตรง
ค.
สวามิภักดิ์ ง. กตัญญู
ตอบ
: ก
45.
ความเที่ยงธรรม เพิ่มคุณสมบัติให้แก่ศีลข้อใด ?
ก.
ปาณาติบาต ข. อทินนาทาน
ค. มุสาวาท ง. สุราเมรัย
ตอบ
: ค
46.
ข้อใด ชื่อว่าไม่รู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร ?
ก.
พออิ่ม ข. พอดี
ค.
พอควร ง. พอใจ
ตอบ
: ง
47.
คนไม่รู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร
เกิดผลเสียอย่างไร ?
ก.
เสียหน้าที่ ข. เสียการงาน
ค.
เสียสุขภาพ ง. เสียชื่อเสียง
ตอบ
: ค
48.
การเอาใจใส่ไม่ทอดทิ้งธุระหน้าที่ จัดว่ามีสติรอบคอบในเรื่องใด ?
ก.
รู้จักประมาณในการบริโภค
ข.
ไม่ประมาทในธรรม
ค. ไม่ประมาทในการงาน
ง.
มีสติสัมปชัญญะในการประพฤติตัว
ตอบ
: ค
49.
ข้อใด ชื่อว่าไม่ประมาทในโลกธรรม ?
ก.
ดีใจได้เลื่อนตำแหน่ง
ข. เสียใจเมื่อตกจากงาน
ค.
โกรธเมื่อถูกนินทา ง. โลกธรรมเป็นเรื่องธรรมดา
ตอบ
: ง
50.
การตั้งอยู่ในกัลยาณธรรม มีประโยชน์ต่อสังคมอย่างไร ?
ก.
เป็นแบบอย่างที่ดี ข. ร่ำรวยเงินทอง
ค.
ธุรกิจก้าวหน้า ง. มีเกียรติยศชื่อเสียง
ตอบ
: ก
*********
เฉลยวิชาเบญจศีล
เบญจธรรม (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
1.
ก 11. ก 21. ค 31. ข 41. ง
2.
ง 12. ก 22. ก 32. ก 42. ค
3.
ข 13. ค 23. ค 33. ข 43. ก
4.
ค 14. ค 24. ก 34. ก 44. ก
5.
ก 15. ก 25. ง 35. ง 45. ค
6.
ข 16. ค 26. ก 36. ค 46. ง
7.
ข 17. ก 27. ข 37. ข 47. ค
8.
ค 18. ง 28. ก 38. ง 48. ค
9.
ง 19. ง 29. ก 39. ข 49. ง
10.
ค 20. ง 30. ข 40. ง 50. ก
พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
นักเรียนได้อะไรบ้างจากพระที่เข้าไปสอนในโรงเรียน